5.การปรับตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในยุคดิจิทัล ในมิติภาคเอกชน กรณี– ธุรกิจสายการบิน
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 237 total views, no views today
237 total views, no views today
4.การปรับตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในยุคดิจิทัล ในมิติภาคเอกชน กรณี-ธุรกิจการให้บริการโรงแรมที่พัก
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 275 total views, no views today
275 total views, no views today
3.ภาครัฐกับการพัฒนาระบบดิจิทัล เพื่อการรองรับกับรูปแบบการเดินทางแบบใหม่
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 286 total views, no views today
286 total views, no views today
2.การปรับตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในยุคดิจิทัล ในมิติภาครัฐ
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 355 total views, no views today
355 total views, no views today
1.บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยีดิจิทัลในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 279 total views, no views today
279 total views, no views today
(ภาษาไทย) 5. ทำความรู้จักกับ Big Data
5. ทำความรู้จักกับ Big Data Big Data คือ “ข้อมูลที่มากมายมหาศาล” ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน อันได้รับผลจากพัฒนาการของเทคโนโลยีและระบบต่างๆ ที่มีมากมายในปัจจุบัน ทำให้องค์การมีการเก็บข้อมูลต่างๆ อย่างมากมายมหาศาล จากข้อมูลที่ได้ในแหล่งต่างๆ เช่น ข้อมูลที่ได้จากลูกค้าผ่านการรีวิวผลิตภัณฑ์ ข้อมูลด้านสินค้าจากผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบ ข้อมูลเศรษฐกิจสังคมการเมืองของประเทศต่างๆรอบโลก เป็นต้น ซึ่งผู้เป็นแหล่งข้อมูลเหล่านี้ปรากฏให้เห็นมากมายบนโลกออนไลน์อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน 5.1 แนวทางการใช้ Big Data ในธุรกิจ ในปัจจุบันมีกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีการประยุกต์ใช้ Big Data ในองค์การ เช่น อุตสาหกรรมด้านการเงินการธนาคาร ด้านโทรคมนาคม ด้านค้าปลีกและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และด้านสุขภาพ โดยประเทศที่มีการประยุกต์ใช้ Big Data อย่างมาก คือ สหรัฐอเมริกา และ สหราชอาณาจักร เป็นต้น โดยองค์การธุรกิจสามารถนำ Big Data มาใช้เพื่อตอบสนองเป้าหมายพื้นฐานของธุรกิจในหลายๆด้าน ดังนี้ ด้านการลดต้นทุนและยกระดับประสิทธิภาพการทำงาน บริษัท General Electric (GE) ได้ติดตั้งเซ็นเซอร์หลากหลายรูปแบบในเครื่องยนต์ แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาจุดที่สามารถลดค่าใช้จ่ายได้ โดย […]
326 total views, no views today
(ภาษาไทย) 4. ทำความรู้จักกับ IoT: Internet of Things
4.IoT: Internet of Things IEEE Computer Society ได้พูดถึงเทคโนโลยีที่ควรจับตามองในอนาคตว่า เทคโนโลยี Internet of Things (IoT) จะมีการใช้งานที่เป็นจริงมากยิ่งขึ้น โดยแนวคิด IoT นั้นถูกคิดขึ้นโดย Kevin Ashton ในปี 1999 ซึ่งเขาเชื่อว่าอุปกรณ์ต่างๆจะมีการเชื่อมต่อและสามารถสื่อสารกันเองได้ ซึ่งศัพท์คำว่า “Things” ก็แทนอุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์นั้นเอง จากการพัฒนาด้านเทคโนโลยีในอดีตถึงปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีอุปกรณ์หลายชิ้นเชื่อมต่อกันผ่านอินเทอร์เน็ต โดยดูได้จากรูปภาพที่ 3.3 แสดงเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆที่เชื่อมต่อสื่อสารกันผ่านอินเทอร์เน็ต 4.1 ความหมายและผลกระทบของ IoT กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2559) ได้อธิบายความหมายเพิ่มเติมของคำศัพท์เฉพาะ Internet of Things (IoT) หรือที่รู้จักในชื่อ “เทคโนโลยีการเชื่อมต่อของสรรพสิ่ง” โดยได้ให้ความหมายว่า IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่งที่สามารถ สื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านช่องทางการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่างๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ IoT จะเปลี่ยนรูปแบบและกระบวนการผลิต ในภาคอุตสาหกรรมไปสู่ยุคใหม่ หรือที่เรียกว่า […]
331 total views, no views today
(ภาษาไทย) 3.มารู้จักกับ Cloud Computing
3.มารู้จักกับ Cloud Computing Cloud Computing คือ บริการอย่างหนึ่งที่ครอบคลุมการให้ใซ้ซอฟต์แวร์ต่างๆของผู้ให้บริการ ร่วมถึงอนุญาติให้ใช้ทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยผู้ขอใช้บริการสามารถเลือกประสิทธิภาพ จำนวน ขนาดของทรัพยากรต่างๆ ได้ตามความต้องการในการใช้งาน เช่น กำลังประมวลผลข้อมูล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล และบริการต่างๆบนระบบออนไลน์ของผู้ให้บริการ ซึ่งจะช่วยให้องค์การลดความยุ่งยากในการติดตั้ง ดูแลระบบ ที่มีต้นทุนสูงและต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมาดูแล อีกทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและลดต้นทุนในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายองค์การ 3.1 การใช้งาน Cloud computing ความยืดหยุ่นที่สามารถรองรับการขยายตัวซึ่งเป็นความสามารถหนึ่งของ Cloud computing เป็นประเด็นสำคัญที่องค์การ ในปัจจุบันหันมาสนใจ ซึ่งมีหลายองค์การที่เริ่มปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการ “ลงทุนด้านไอที”ให้กลายเป็น “ค่าใช้จ่ายด้านไอที” แทน เนื่องจากแต่ละองค์การมีความต้องการใช้งานด้านไอทีในกิจกรรมต่างๆที่แตกต่างกันไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้บริการระยะสั้นๆ ที่อาจจะจำเป็นต้องใช้ Cloud computing เพื่อจัดการงานบ้างอย่างซึ่งถ้าจำเป็นต้องลงทุนระบบไอทีทั้งหมดอาจจะต้องลงทุนสูง ไม่คุ้มกับผลตอบแทนที่ได้รับ ดังนั้นองค์การจึงหันมาใช้ Cloud computing จากผู้ให้บริการ เนื่องจากในแต่ละองค์การนั้นมีระบบ งานอยู่หลากหลายงานซึ่งแต่ละงานก็จะเหมาะกับระบบ Cloud ต่างชนิดกัน องค์การจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยประเภทของ Cloud computing สามารถจำแนกได้ 3 […]
223 total views, no views today