(ภาษาไทย) ชนบทไทย
ชนบทไทย
ความหมายของชนบท
คำว่า “ชนบท” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง บ้านนอก เขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป
ชนบท หมายถึง ส่วนที่อยู่นอกเขตเมืองหรือเขตเทศบาล เป็นเขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวง ออกไป มีประชากรที่เลี้ยงชีพด้วยการเกษตรกรรมเป็นสำคัญ มีระเบียบสังคมที่สอดคล้องกับลักษณะชุมชนแบบหมู่บ้าน ตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่มก้อน หรือกระจัดกระจายตามลักษณะภูมิประเทศหรือตามประเพณีนิยม มีความหนาแน่นของประชากรน้อยกว่าในเมือง (http://th.wikipedia.org/wiki เข้าถึงเมื่อ 28 กันยายน 2556)
ชนบท หมายถึง บริเวณหรือพื้นที่ที่อยู่นอกเขตสุขาภิบาลหรือเขตเทศบาล (ส่วนวิจัยและพัฒนา สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย, 2538)
ชนบท (rural) หมายถึง เขตที่ตั้งอยู่นอกตัวเมือง ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามสภาพพื้นที่ตั้งกับประชาชนที่อยู่ในชนบทนั้น ชนบทแต่ละแห่งย่อมมีความแตกต่างกันไปทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และความเป็นอยู่ของชาวชนบท สังคมมีขนาดเล็กและล้าหลัง มีลักษณะดังนี้ เป็นชุมชน (Gemeinsoaft), สังคมชาวบ้าน (Folk), สังคมประเพณี (Traditional), สังคมชนบท (Rural), สังคมเกษตร (Agricultural), สังคมด้อยพัฒนา (Underdevelopment), สังคมกำลังพัฒนา (Developing) สังคมรอบนอก (Periphery) และชนบท (Rural) (สุรพล เศรษฐบุตร http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&frm=
s&frm=1&source=web&cd=8&ved=0CFIQFjAH&url=http%3A%2F%2Fagecon-extens. agricmu.ac.th เข้าถึงเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2556)
ในรายงานการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ชนบทศึกษาในบริบทการพัฒนาประเทศ ของส่วนวิจัย
และพัฒนา สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อ ธันวาคม 2538 หน้า 10 ได้สรุปไว้ว่า ชุมชนชนบท คือสังคมเกษตรกรรมที่
- ด้อยโอกาสทางการศึกษา ข่าวสาร และบริการจากรัฐ
- หนี้สินเกิดจากความล้มเหลวของระบบการผลิตเชิงพาณิชย์ที่ตนเองขาดทักษะและความพร้อม
- พื้นที่ทำกินยากต่อการฟื้นฟู หรือปรับปรุง
- พื้นที่ทำกินจำกัด
- ขาดแคลนแหล่งน้ำและทรัพยากรป่าไม้
- ไม่ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีการเกษตรของรัฐอย่างเต็มที่
- ไม่มีกำลังต่อรองด้านราคาพืชผล
- ความต้องการด้านอาหารและรายได้ไม่สามารถได้มาจากระบบการผลิตที่เป็นอยู่
- การมีน้ำใจช่วยเหลือเกื้อกูลกัน พึ่งพาอาศัยกัน คนในชนบทไทยเป็นคนมีน้ำใจคอยดูแลใส่ใจ
- การมีความขยัน อดทน รับผิดชอบ ลักษณะเหล่านี้พิจารณาได้จากชีวิตประจำวัน และการ
- การให้ความเคารพและให้เกียรติผู้อาวุโส ลักษณะสำคัญอีกประการหนึ่งของคนชนบทคือการ
- ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม เนื่องจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวชนบทแต่ละภาคแตกต่างกัน การ
- ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ บ้านในสังคมชนบทภาคกลางและภาคเหนือนิยมสร้างแบบมี
- วัสดุที่นำมาใช้ในการสร้างบ้าน ส่วนหนึ่งนำมาจากสิ่งแวดล้อมธรรมชาติในพื้นที่หรือในบริเวณ
บรรณานุกรม
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และพรพิไล เลิศวิชา “วัฒนธรรมหมู่บ้านไทย” กรุงเทพฯ: บริษัทอทิตตา พริ้นติ้ง (ประเทศไทย) จำกัด, 2537 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 พรทิพย์ โภไคยอุดม “รายงานการวิจัย ชนบทศึกษา: การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ผสานแนวพุทธ” สำนักงาน จัดการศึกษาทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 สมศักดิ์ ศรีสันติสุข “สังคมวิทยาชนบท แนวคิดทางทฤษฎีและแนวโน้มในสังคม” กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด, 2550 ส่วนวิจัยและพัฒนา สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย “รายงานการสัมมนาทาง วิชาการ เรื่อง ชนบทศึกษาในบริบทการพัฒนาประเทศ”, ธันวาคม 2538 สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม 13 โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพ: โรงพิมพ์คุรุสภา, 2533696 total views, 3 views today