Influencer Marketing
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 194 total views, no views today
194 total views, no views today
การตลาดแบบครอบครัว
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 180 total views, no views today
180 total views, no views today
ธุรกิจที่เปลี่ยนไปใน AEC
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 157 total views, no views today
157 total views, no views today
การตลาดของ SMEs ใน AEC
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 160 total views, no views today
160 total views, no views today
(ภาษาไทย) การตลาดสีเขียว Green Marketing
ในยุคที่พลังงานมีราคาแพง สภาพแวดล้อมเป็นพิษ การกำจัดขยะทำได้ยากขึ้นและบทบาทของพลาสติกเข้ามาแทนที่ในชีวิตประจำวัน ทำให้ผู้บริโภคคำนึงถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมและเกิดกระแสสำนึกต่อสภาพแวดล้อม เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทำให้นักการตลาดทั้งหลายต่างต้องแสวงหาโอกาสทางการตลาดเพื่อความเป็นผู้นำ สร้างนวัตกรรม ความแตกต่างทางการแข่งขัน นอกจากนั้นยังต้องมองหาเครื่องมือทางการตลาดที่คืนกำไรให้กับสังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเรียกว่าการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green Marketing) แนวคิดนี้ ทำให้ผู้บริโภคคำนึงถึงต้นทุนของ “คุณค่า” ในการเลือกใช้สินค้าที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและธุรกิจต้องรับผิดชอบต่อสังคม ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคและสภาพแวดล้อม การดำเนินงานทางการตลาดจึงต้องใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ อย่างจริงจังมากขึ้น รวมทั้งยังต้องส่งเสริมสร้างสรรค์ให้เกิดผลดีต่อสังคมโดยรวมยิ่งๆ ขึ้นไป กลยุทธ์ Green Marketing มีหลักคิดอยู่ 7 ประการ 1. ธุรกิจต้องทำการบ้านในเรื่องของสิ่งแวดล้อมใหม่ทั้งด้านข้อกฎหมาย การเมือง เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม เรียกอีกอย่างว่าคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับองค์กร (Stakeholders) 2. การผลิตสินค้าต้องให้ได้คุณภาพทั้งตัวสินค้าและการขจัดสิ่งแวดล้อม 3. ให้ทางเลือกแก่ประชาชนผู้บริโภคในการที่จะได้รับคุณค่าและคุณประโยชน์ 4. สร้างความน่าเชื่อถือทางการตลาด 5. ดึงสมาคมชมรมสิ่งแวดล้อมมาร่วมมือกันพัฒนาและรับประกันคุณภาพ 6. ทำการประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจอันดีกับสังคมว่าธุรกิจมีการรักษา สิ่งแวดล้อม ซึ่งจะทำให้คุณค่าของบริษัทและสินค้าดีขึ้น 7. อย่าเบื่อจนกว่าจะทำให้ […]
461 total views, no views today
การตลาดเชิงเอาใจใส่สังคม (Cause-Related Marketing)
บทความโดย : สาระดีดี.คอม/ WWW.SARA-DD.COM Corporate social responsibility (CRS) ได้รับความนิยมอย่างมากในองค์กรในสหรัฐอเมริกา กิจกรรมที่การตลาดเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในสังคมที่เราเรียกว่า cause-related marking หรือ CRM ซึ่งเป็นกระบวนการที่สร้างและใช้วิธีทางการตลาด โดยองค์กรนำเสนอแก่สังคมว่าจะมอบเงินจำนวนหนึ่งให้แก่องค์กรใดองค์กรหนึ่งหากลูกค้ามีส่วนร่วมในการสร้างรายได้ให้แก่บริษัท และในปัจจุบัน CRM ถูกนำมาใช้ในองค์กรมากกว่า 85% และ CRM ก็กลายเป็นหัวข้อวิจัยหลายๆ ของแขนงธุรกิจและสถาบันการศึกษา นักวิจัยที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับ CRM จะต้องพบประเด็นหลักๆ สองประเด็น ประเด็นแรกคือ ปฏิกิริยาโดยทั่วไปของลูกค้าที่มีต่อ CRM ซึ่งก็คือลูกค้าส่วนใหญ่มีผลตอบกลับที่ดีต่อการตลาดแบบนี้หรือไม่ ประเด็นที่สองคือผลกระทบที่ได้รับจากการใช้ CRM ในลักษณะต่างๆ CSR หรือ Corporate Social Responsibility หมายถึง ความรับผิดชอบของสิ่งที่บริษัทหรือองค์กรทำแล้วส่งผลต่อสังคม CSR เกิดจากปัญหาทางสังคมหรือช่องว่างระหว่างความคาดหวังของสังคมกับการปฏิบัติทางสังคมของภาคธุรกิจ ปัจจุบันแม้ว่าการปฏิบัติทางสังคมของภาคธุรกิจมีการปรับขยายเพิ่มขึ้นแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับความคาดหวังของสังคม ส่งผลให้ช่องว่างดังกล่าวเพิ่มขึ้นกว้างมากขึ้น การทำ CSR เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อยอดจากพื้นฐานความรับผิดชอบที่องค์กรควรมี 4 ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ กฎหมาย […]
291 total views, no views today
กลยุทธ์การทำสงครามการตลาด Marketing Warfare Strategy
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 607 total views, no views today
607 total views, no views today
Social Media Marketing Trend ในปี 2015
มีเนื้อหาเฉพาะภาษาอังกฤษ กรุณาเปลี่ยนภาษาเป็นภาษาอังกฤษ 192 total views, no views today
192 total views, no views today